Loading...
ระบบการรายงานผลการดำเนินการตามมาตรฐานทางจริยธรรม
ออกจากระบบ
แบบสอบถามการมีกลไกการรักษาจริยธรรมในหน่วยงานของรัฐ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๖
ประเภทหน่วยงาน
*
ส่วนราชการ
สถาบันอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ (เฉพาะในส่วนครูและบุคลากรทางการศึกษา)
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ตำรวจ)
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการต่างประเทศ (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงคมนาคม (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงพลังงาน (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงพาณิชย์ (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงยุติธรรม (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงแรงงาน (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงวัฒนธรรม (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงสาธารณสุข (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงอุตสาหกรรม (กรณีข้าราชการการเมือง)
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม (กรณีข้าราชการการเมือง)
กระทรวงกลาโหม (ทหาร)
รัฐวิสาหกิจ
องค์การมหาชน
กระทรวงมหาดไทย (เฉพาะในส่วน กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน)
องค์กรของรัฐรูปแบบอื่น
ส่วนราชการ (ส่วนราชการรูปแบบพิเศษ)
องค์กรกลาง
สังกัด/จังหวัด (ในกรณีองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น)
*
หน่วยรายงานข้อมูล
*
วัตถุประสงค์
: เพื่อประเมินการมีกลไกการรักษาจริยธรรมประจำหน่วยงานของรัฐ ว่ามีการกำหนดผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริยธรรมของหน่วยงาน รวมถึงมีการดำเนินกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานรักษาจริยธรรม ประพฤติปฏิบัติตนอย่างมีคุณธรรม
คำชี้แจง
: แบบสอบถามนี้ใช้
สำหรับหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ รองหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ และเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐ
เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม โดยทำเครื่องหมาย ✓ และตอบข้อมูลที่ตรงกับผู้ตอบแบบสอบถาม
(๑) ข้อมูลส่วนบุคคล
คำชี้แจง
: ขอให้ท่านพิจารณาข้อมูลส่วนบุคคล และเลือกคำตอบที่ตรงกับท่าน
ตำแหน่งงาน
๑) เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐ ระบุประเภทและระดับตำแหน่ง
(๒) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีกลไกการรักษาจริยธรรมในหน่วยงาน
คำชี้แจง
: ขอให้ท่านพิจารณาประเด็นการมีกลไกการรักษาจริยธรรมของบุคลากรในหน่วยงานของท่าน และทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องว่าง □ ทางขวามือ
กลไกการรักษาจริยธรรมในหน่วยงาน
การดำเนินการ
มี
(๑)
ไม่มี
(๐)
๑. หน่วยงานของท่านกำหนดให้มีผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริยธรรมประจำหน่วยงาน
๒. หน่วยงานของท่านส่งเสริม สนับสนุน ให้ความรู้ ฝึกอบรม และพัฒนาบุคลากรในหน่วยงานเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรม ประมวลจริยธรรม และข้อกำหนดจริยธรรมของหน่วยงาน
๓. หน่วยงานของท่านมีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อเสริมสร้างให้มีการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมหรือข้อกำหนดจริยธรรมของหน่วยงาน
๔. หน่วยงานของท่านเปิดโอกาสและส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบพฤติกรรมของบุคลากรในหน่วยงาน
๕. หน่วยงานของท่านมีหรือสร้างเครือข่ายและประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและภาคเอกชน เพื่อขับเคลื่อนงานด้านจริยธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๖. หน่วยงานของท่านมีการกำกับดูแลการดำเนินกระบวนการรักษาจริยธรรม และการประเมินผลการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม รวมทั้งจัดหลักสูตรการฝึกอบรมและเผยแพร่ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรมและประมวลจริยธรรม โดยองค์กรกลางบริหารงานบุคคลและองค์กรที่มีหน้าที่จัดทำประมวลจริยธรรม
๗. หน่วยงานของท่านมีมาตรการจูงใจเพื่อพัฒนาและส่งเสริมให้บุคลากรในหน่วยงานมีพฤติกรรมเป็นแบบอย่างที่ดี
๘. หน่วยงานของท่านมีมาตรการที่ใช้บังคับแก่บุคลากรในหน่วยงานที่มีพฤติกรรมที่เป็นการฝ่าฝืนมาตรฐานทางจริยธรรมหรือไม่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม
๙. หน่วยงานของท่านมีมาตรการที่ใช้พิจารณาพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่เพื่อนำไปใช้ประกอบการบริหารทรัพยากรบุคคล
๑๐. หน่วยงานของท่านจัดทำรายงานผลการส่งเสริมจริยธรรมในองค์กร/รายงานประจำปีเกี่ยวกับการดำเนินการตามพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒
แบบสอบถามการใช้มาตรฐานทางจริยธรรมในหน่วยงานของรัฐ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๖
วัตถุประสงค์
: เพื่อประเมินความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มีต่อหน่วยงานว่ามีการใช้มาตรฐานทางจริยธรรมภายในหน่วยงาน
คำชี้แจง
: แบบสอบถามนี้ใช้สำหรับ
รองหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ และเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐ
เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม โดยทำเครื่องหมาย และตอบข้อมูลที่ตรงกับผู้ตอบแบบสอบถาม
(๑) ข้อมูลส่วนบุคคล
ตำแหน่งงาน
ระยะเวลาปฏิบัติงานในหน้าที่ปัจจุบัน
๑) น้อยกว่า ๑ ปี
๒) ๑ – ๓ ปี
๓) มากกว่า ๓ ปี
เพศ
(๑) ชาย
(๒) หญิง
อายุ
๑) ต่ำกว่า ๒๕ ปี
๒) ๒๕ – ๓๕ ปี
๓) ๓๖ – ๔๕ ปี
๔) ๔๖ – ๕๕ ปี
๕) มากกว่า ๕๕ ปี
ระดับการศึกษา
๑) ต่ำกว่าอนุปริญญา/ปวช.
๒) อนุปริญญา/ปวส.
๓) ปริญญาตรี
๔) ปริญญาโท
๕) ปริญญาเอก
ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน
๑) น้อยกว่า ๑๐ ปี
๒) ๑๐ – ๒๐ ปี
๓) ๒๑ – ๓๐ ปี
๔) มากกว่า ๓๐ ปี
(๒) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้มาตรฐานทางจริยธรรมในหน่วยงาน
คำชี้แจง
: ขอให้ท่านพิจารณาระดับการปฏิบัติเกี่ยวกับการขับเคลื่อนมาตรฐานทางจริยธรรมในหน่วยงานของท่าน และทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องว่าง □ ทางขวามือ
การใช้มาตรฐานทางจริยธรรมในหน่วยงาน
การดำเนินการ
มากที่สุด
(๔)
มาก
(๓)
น้อย
(๒)
น้อยที่สุด
(๑)
ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ อันได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๑. หน่วยงานของท่านให้ความสำคัญกับการเคารพความแตกต่างของการนับถือศาสนาของบุคลากร
๒. หน่วยงานของท่านเปิดโอกาสให้บุคลากรได้แสดงออกทางความคิดและการกระทำภายใต้รัฐธรรมนูญและกฎหมาย
๓. หน่วยงานของท่านส่งเสริมให้บุคลากรยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ
ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสำนึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที่
๔. หน่วยงานของท่านส่งเสริมการทำงานของบุคลากรในหน่วยงานให้มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้
๕. หน่วยงานของท่านส่งเสริมให้บุคลากรในหน่วยงานมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
๖. หน่วยงานของท่านสนับสนุนให้มีการตรวจสอบพฤติกรรมทางจริยธรรมและการทุจริต
กล้าตัดสินใจ และกระทำในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม
๗. หน่วยงานของท่านมีช่องทางการร้องเรียน กรณีบุคลากรในหน่วยงานไม่ได้รับความเป็นธรรม
๘. หน่วยงานของท่านส่งเสริมให้บุคลากรในหน่วยงานกล้าทำในสิ่งที่ถูกต้อง
๙. หน่วยงานของท่านมีกลไกการตรวจสอบการฝ่าฝืนจริยธรรม และการทุจริตที่มีประสิทธิภาพ
คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว และมีจิตสาธารณะ
๑๐. หน่วยงานของท่านสนับสนุนความก้าวหน้าบุคลากรที่ทำงานด้วยความทุ่มเทและเสียสละ
๑๑. หน่วยงานของท่านมีกลไกกำกับดูแลไม่ให้บุคลากรแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัวจากงานที่ทำ
๑๒. หน่วยงานของท่านส่งเสริมบุคลากรแยกเรื่องงานออกจากเรื่องส่วนตัว
มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
๑๓. หน่วยงานของท่านมีการกำกับ ดูแล และควบคุมการทำงานของบุคลากรให้มีความรวดเร็ว ทันเวลา
๑๔. หน่วยงานของท่านส่งเสริมให้บุคลากรได้พัฒนาตนเองอยู่เสมอ
๑๕. หน่วยงานของท่านมีการกำกับดูแล และประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในความรับผิดชอบเพื่อให้งานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ
๑๖. หน่วยงานของท่านส่งเสริมให้บุคลากรเคารพความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา เพศ ของคนอื่น
๑๗. หน่วยงานของท่านมีระบบการส่งเสริมคุณธรรมในหน่วยงาน
๑๘. หน่วยงานของท่านมีระบบตรวจสอบการใช้อำนาจหน้าที่อย่างไม่เป็นธรรมของผู้บริหารในทุกระดับ
ดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดีและรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ
๑๙. ฝ่ายบริหารดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับบุคลากรในหน่วยงาน
๒๐. หน่วยงานของท่านส่งเสริมให้บุคลากรรักษาเกียรติของทางราชการ
๒๑. หน่วยงานของท่านส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติตนต่อบุคคลอื่นด้วยความสุภาพอ่อนน้อมถ่อมตน
บันทึก
ยกเลิก